DoH Dashboard กรมอนามัย

ข้อมูลของปี

ตัวชี้วัดระดับกรม

  (53 รายการ)


ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

  (6 รายการ)
# ตัวชี้วัด เป้าหมาย     ผลงาน    
1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนนโยบาย/แผนงาน/ยุทธศาสตร์ระดับชาติและข้อตกลง/พันธสัญญาระหว่างประเทศ 95.0     0.00    
2 จำนวนจังหวัดคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามกฏหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 54.0     2.00    
3 จำนวนหน่วยงานภายนอกที่เชื่อมโยงข้อมูลกับกรมอนามัย 4.0     2.00    
4 ร้อยละของข้อมูลที่อยู่ในระบบบัญชีข้อมูลของกรมอนามัยที่มีการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะตามที่สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกำหนด 40.0     48.61    
5 ร้อยละข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีการขับเคลื่อนและนำไปสู่การปฏิบัติ 100.0     0.00    
6 ร้อยละความผูกพันของภาคีเครือข่ายต่อการนำสินค้าและบริการของกรมไปใช้ประโยชน์ 82.0     0.00    

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่เมืองสุขภาพดี

  (26 รายการ)
# ตัวชี้วัด เป้าหมาย     ผลงาน    
1 อัตราการเจริญพันธุ์รวมของประเทศ (TFR) (ระยะเวลาการประมวลผล 1.5 ปี) 1.6     0.00    
2 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน 17.0     16.59    
3 ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 85.0     95.54    
4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 66.0     59.62    
5 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 59.0     55.23    
6 ส่วนสูงเฉลี่ยของคนไทยที่อายุ 19 ปี (ชาย) 172.0     167.09    
7 ส่วนสูงเฉลี่ยของคนไทยที่อายุ 19 ปี (หญิง) 162.0     158.06    
8 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (Caries free) 75.0     75.26    
9 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีที่ปราศจากฟันผุ (Caries free) 72.0     70.25    
10 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน 21.0     17.44    
11 ร้อยละของประชากรอายุ 18-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 53.0     45.59    
12 ร้อยละของประชากรอายุ 25-59 ปี มีการเตรียมการเพื่อยามสูงอายุด้านสุขภาพ 47.0     0.00    
13 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ไม่มีภาวะพึ่งพิง 96.8     96.79    
14 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยติดเชื้อจากแหล่งกำเนิดตามกฎหมายได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง 100.0     98.91    
15 ร้อยละของประชากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับบริการน้ำประปาที่สะอาดปลอดภัย 45.0     15.56    
16 ร้อยละของตลาดประเภท 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฏหมาย 100.0     43.93    
17 ร้อยละของสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฏหมายกำหนด 40.0     30.46    
18 ร้อยละของส้วมสาธารณะที่สะอาดเพียงพอและปลอดภัย (HAS) 75.0     0.00    
19 ร้อยละของ รพ.ที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Challenge (ระดับมาตรฐานขึ้นไป) 60.0     74.69    
20 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Sub-district Health Promoting Hospital (GCSh) 40.0     0.00    
21 ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาลนคร/เทศบาลเมือง) มีการจัดการสิ่งปฏิกูลตามกฎหมาย 50.0     0.00    
22 ร้อยละของจังหวัดจัดที่มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 65.0     1.00    
23 ร้อยละความสำเร็จของหน่วยงานภาคการสาธารณสุขดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ฉุกเฉินและสาธารณภัย 75.0     0.00    
24 ร้อยละของพื้นที่เขตเมือง (เทศบาลนคร/เทศบาลเมือง) และเขตเศรษฐกิจพิเศษขับเคลื่อนเป็นเมืองสุขภาพดี 20.0     4.37    
25 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปราะบาง กลุ่มด้อยโอกาสทางสังคม และแรงงานข้ามชาติ เข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 55.0     54.00    
26 ร้อยละของโรงเรียน กพด. เข้าถึงน้ำบริโภคสะอาดได้ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย 15.0     7.67    

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

  (12 รายการ)
# ตัวชี้วัด เป้าหมาย     ผลงาน    
1 อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน 67.0     80.95    
2 ร้อยละของเด็กไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 60.0     31.30    
3 ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 50.0     58.16    
4 ร้อยละของนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึ่งประสงค์ 55.0     0.00    
5 ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง 65.0     42.48    
6 ร้อยละของประชากรอายุ 15-59 ปีมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 48.0     0.00    
7 ร้อยละของประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 0.0     0.00    
8 จำนวนสถานบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ 400.0     4,511.00    
9 จำนวนสถานศึกษายกระดับเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ 3,000.0     0.00    
10 ร้อยละของการตอบโต้ความเสี่ยงด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์ (RRHL) 15.0     59.00    
11 จำนวนอำเภอรอบรู้ด้านสุขภาพ 96.0     725.00    
12 จำนวนสถานประกอบการรอบรู้ด้านสุขภาพ 200.0     4,389.00    

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับองค์กรสู่ความเป็นเลิศ และมีธรรมาภิบาล

  (9 รายการ)
# ตัวชี้วัด เป้าหมาย     ผลงาน    
1 จำนวนประเด็นการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นที่ยอมรับ 1 ใน 10 ของเอเชีย 2.0     3.00    
2 จำนวนศูนย์ความเชี่ยวชาญในการบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง 5.0     0.00    
3 จำนวนองค์ความรู้ งานวิจัย หรือผลงานวิชาการหรือนวัตกรรมได้ถูกขับเคลื่อนหรือยกระดับเป็นนโยบาย ยุทธศาสตร์หรือกฏหมาย 6.0     4.00    
4 การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 (1 = Level Basic/ 2 = Level Advance/ 3 = Level Significance) 2.0     2.00    
5 ร้อยละบุคลากรได้รับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล 85.0     0.00    
6 ร้อยละบุคลากรมีความสามารถเชิงสมรรถนะหลักของกรมอนามัย ตั้งแต่ระดับปานกลางขึ้นไป 80.0     0.00    
7 ร้อยละของความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร 75.0     75.06    
8 คะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของกรมอนามัย (Integity and Transparency Assessment:ITA) 95.0     0.00    
9 จำนวนองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ 10.0     0.00