1 |
อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน
16.0
38.97
|
2 |
ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
85.0
82.55
|
3 |
ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบสงสัยล่าช้า
20.0
52.01
|
4 |
ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม
90.0
90.84
|
5 |
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน
62.0
61.24
|
6 |
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอม
5.5
5.09
|
7 |
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
9.5
9.25
|
8 |
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย
12.0
11.67
|
9 |
เด็กอายุ 5 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ แยกตามเพศชาย (ซม.)
113.0
108.82
|
10 |
เด็กอายุ 5 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ แยกตามเพศหญิง (ซม.)
112.0
108.24
|
11 |
ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ
73.0
73.74
|
12 |
ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน
66.0
59.14
|
13 |
ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีที่ปราศจากฟันผุ (Caries free)
71.0
70.19
|
14 |
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี พันคน
1.0
1.01
|
15 |
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน
27.0
8.79
|
16 |
ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
13.5
13.96
|
17 |
ร้อยละของประชากรอายุ 19-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
50.0
47.94
|
18 |
ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
50.0
30.40
|
19 |
ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long term care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
90.0
96.80
|
20 |
ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan
85.0
15.60
|
21 |
ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก
60.0
1.32
|
22 |
ร้อยละของเทศบาลมีการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ระดับพื้นฐานขึ้นไป
70.0
61.43
|
23 |
ร้อยละของ อบต. ที่มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ (GREEN and Healthy Cities/Communities)
15.0
0.00
|
24 |
ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขที่จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital
80.0
99.90
|
25 |
ร้อยละพฤติกรรมการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพิ่มขึ้น
16.0
83.57
|
26 |
จำนวนครอบครัวมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ/จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 10 ล้านครอบครัว
5,000,000.0
5,004,258.00
|
27 |
ร้อยละของกฎหมายระดับอนุบัญญัติ ที่ได้รับการพัฒนา ทันต่อสถานการณ์ เสนอต่อคณะกรรมการตามกฎหมาย (กฎ/ประกาศ)
60.0
90.00
|
28 |
ร้อยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัยผ่านกลไกคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/พนักงานเจ้าหน้าที่ในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
30.0
0.00
|
29 |
จํานวนงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการ หรือ นวัตกรรมที่ดำเนินการได้อย่างน้อย 1 เรื่องในรอบปี
15.0
0.00
|
30 |
จํานวนงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการ หรือ นวัตกรรมที่ผ่านมาถูกนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างน้อย 1 เรื่องในรอบปี
15.0
0.00
|
31 |
การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (รายหมวดสะสม)
6.0
3.00
|
32 |
ร้อยละของความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร
80.0
79.19
|
33 |
ร้อยละของบุคลากรมีสมรรถนะในการขับเคลื่อนระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
65.0
83.43
|
34 |
คะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( ITA) ตามระบบการประเมินของ ปปท.
92.5
92.04
|