ตารางข้อมูลรายพื้นที่
# |
พื้นที่ |
จำนวนของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับทั้งหมด (แห่ง) |
จำนวนของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงที่มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งปฏิกูล (แห่ง) |
ร้อยละของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงที่มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งปฏิกูล |
จำนวนของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยง ที่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล (แห่ง) |
ร้อยละของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยง ที่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล |
จำนวนของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงที่มีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ(แห่ง) |
ร้อยละของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงที่มีระบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ |
|
รวม |
0 |
0 |
0.00 | 0 |
0.00 |
0 |
0.00 |
|
|
พื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ |
หมายเหตุ:
สถานการณ์ภาพรวม และ สถานการณ์รายพื้นที่ คิดจาก
A = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยง (locality_type = 03,04,05,06) ที่มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งปฏิกูล (แห่ง)
B = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับทั้งหมด
ร้อยละของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงที่มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งปฏิกูล = (A/B)x100
C = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยง (locality_type = 03,04,05,06) ที่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล (แห่ง)
D = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับทั้งหมด
ร้อยละของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยง ที่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล = (C/D)x100
E = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยง (locality_type = 03,04,05,06) ที่มีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ (แห่ง)
F = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับทั้งหมด
ร้อยละของ อปท. ในพื้นที่เสี่ยงที่มีระบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ = (E/F)x100
คำอธิบาย
1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดการสิ่งปฏิกูล หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูล และมีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล
2. จังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ หมายถึง พื้นที่ 29 จังหวัด ซึ่งประชากรมีความเสี่ยงสูงในการจะเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ
เขตสุขภาพที่ 1 เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน น่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ลำพูน
เขตสุขภาพที่ 6 สระแก้ว
เขตสุขภาพที่ 7 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
เขตสุขภาพที่ 8 อุดรธานี นครพนมบึงกาฬเลยสกลนครหนองคาย หนองบัวลำภู
เขตสุขภาพที่ 9 นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ชัยภูมิ
เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร ศรีสะเกษ มุกดาหาร