ตารางข้อมูลรายพื้นที่
|
พื้นที่ |
จำนวนเทศบาลและอบต.(แห่ง) |
จำนวนข้อมูล การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น (แห่ง) |
ร้อยละการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น |
| เขต 1 | 814 | 1,515 | 186.12 |
| เขต 2 | 466 | 858 | 184.12 |
| เขต 3 | 454 | 764 | 168.28 |
| เขต 4 | 649 | 1,230 | 189.52 |
| เขต 5 | 690 | 1,238 | 179.42 |
| เขต 6 | 578 | 1,063 | 183.91 |
| เขต 7 | 718 | 1,237 | 172.28 |
| เขต 8 | 714 | 1,166 | 163.31 |
| เขต 9 | 855 | 1,464 | 171.23 |
| เขต 10 | 658 | 1,056 | 160.49 |
| เขต 11 | 559 | 898 | 160.64 |
| เขต 12 | 617 | 925 | 149.92 |
|
รวม |
7,772 |
13,414 |
172.59 |
|
หมายเหตุ:
สถานการณ์ภาพรวม และ สถานการณ์รายพื้นที่ คิดจาก
A = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (locality_type = 03,04,05,06) ที่มีระบบการจัดการสิ่งปฏิกูลในจังหวัด
พื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ (issue02+issue03)
หารด้วย
B = จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับทั้งหมด
จังหวัดพื้นที่เสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ 29 จังหวัด (ในเขตสุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9, 10) ซึ่งประชากรมีความเสี่ยงสูงในการจะเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ได้แก่ พื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด ภาคเหนือ 8 จังหวัด ภาคตะวันออก 1 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีมาอุดรธานี ขอนแก่น หนองคาย บึงกาฬ เลย หนองบัวลำภู มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธรอุบลราชธานี อำนาจเจริญ สุรินทร์ ศรีสะเกษ มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ ชัยภูมิ นครพนม เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน น่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ลำพูน และสระแก้ว
ที่มา:
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
วันที่ประมวลผล : 10 มีนาคม 2565