ตารางข้อมูลรายพื้นที่
|
พื้นที่ |
ทารกเกิดไร้ชีพ (ราย) |
ทารกเกิดมีชีพ + ทารากเกิดไร้ชีพ |
อัตรา (ต่อ 1,000) |
| เขต 1 | 208 | 40,703 | 5.11 |
| เขต 2 | 122 | 24,432 | 4.99 |
| เขต 3 | 60 | 16,477 | 3.64 |
| เขต 4 | 83 | 24,699 | 3.36 |
| เขต 5 | 268 | 48,579 | 5.52 |
| เขต 6 | 243 | 55,014 | 4.42 |
| เขต 7 | 84 | 29,066 | 2.89 |
| เขต 8 | 158 | 39,455 | 4.00 |
| เขต 9 | 156 | 39,031 | 4.00 |
| เขต 10 | 105 | 32,994 | 3.18 |
| เขต 11 | 201 | 44,086 | 4.56 |
| เขต 12 | 299 | 56,671 | 5.28 |
|
รวม |
1,987 |
451,207 |
4.40 |
|
หมายเหตุ:
ทารกแรกเกิดไร้ชีพ หมายถึง ทารกที่คลอด และมีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์หรือน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 1,000 กรัม และไม่มีสัญญานชีพ ในช่วงเวลาที่กำหนด กล่าวคือทารกเมื่อคลอดแล้วไม่มีอาการแสดงของการมีชีวิต ได้แก่ ไม่มีการหายใจเอง ไม่มีการเต้นของหัวใจ และไม่มีการเคลื่อนไหว อาจรวมถึงทารกที่คลอดออกมาถึงตายทันทีด้วย
รายการข้อมูล 1 ตัวตั้ง คือ A = จำนวนการทารกที่คลอดและมีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์หรือน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 1,000 กรัม และไม่มีสัญญานชีพ ในช่วงเวลาที่กำหนด
รายการข้อมูล 2 ตัวหาร คือ B = จำนวนทารกเกิดทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน (ทั้งเกิดมีชีพและเกิดไร้ชีพรวมกัน)
สูตรคำนวณตัวชี้วัด = (A/B)*1000
ที่มา:
รายงาน Service Plan สาขาทารกแรกเกิด กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ประมวลผล: 16 สิงหาคม 2565