ตารางข้อมูลรายพื้นที่
|
พื้นที่ |
ทารกเกิดไร้ชีพ (ราย) |
ทารกเกิดมีชีพ + ทารากเกิดไร้ชีพ |
อัตรา (ต่อ 1,000) |
| เขต 1 | 154 | 37,289 | 4.13 |
| เขต 2 | 132 | 22,815 | 5.79 |
| เขต 3 | 53 | 14,346 | 3.69 |
| เขต 4 | 84 | 22,547 | 3.73 |
| เขต 5 | 242 | 43,799 | 5.53 |
| เขต 6 | 224 | 49,509 | 4.52 |
| เขต 7 | 73 | 24,668 | 2.96 |
| เขต 8 | 137 | 36,249 | 3.78 |
| เขต 9 | 146 | 37,750 | 3.87 |
| เขต 10 | 91 | 28,591 | 3.18 |
| เขต 11 | 182 | 37,540 | 4.85 |
| เขต 12 | 311 | 53,071 | 5.86 |
|
รวม |
1,829 |
408,174 |
4.48 |
|
หมายเหตุ:
ทารกแรกเกิดไร้ชีพ หมายถึง ทารกที่คลอด และมีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์หรือน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 1,000 กรัม และไม่มีสัญญานชีพ ในช่วงเวลาที่กำหนด กล่าวคือทารกเมื่อคลอดแล้วไม่มีอาการแสดงของการมีชีวิต ได้แก่ ไม่มีการหายใจเอง ไม่มีการเต้นของหัวใจ และไม่มีการเคลื่อนไหว อาจรวมถึงทารกที่คลอดออกมาถึงตายทันทีด้วย
รายการข้อมูล 1 ตัวตั้ง คือ A = จำนวนการทารกที่คลอดและมีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์หรือน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 1,000 กรัม และไม่มีสัญญานชีพ ในช่วงเวลาที่กำหนด
รายการข้อมูล 2 ตัวหาร คือ B = จำนวนทารกเกิดทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน (ทั้งเกิดมีชีพและเกิดไร้ชีพรวมกัน)
สูตรคำนวณตัวชี้วัด = (A/B)*1000
ที่มา:
รายงาน Service Plan สาขาทารกแรกเกิด กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ประมวลผล: 5 กรกฎาคม 2565