ตารางข้อมูลรายพื้นที่
|
พื้นที่ |
ทารกเกิดไร้ชีพ (ราย) |
ทารกเกิดมีชีพ + ทารากเกิดไร้ชีพ |
อัตรา (ต่อ 1,000) |
| หนองบัวลำภู | 7 | 3,331 | 2.10 |
| อุดรธานี | 42 | 8,632 | 4.87 |
| เลย | 17 | 4,765 | 3.57 |
| หนองคาย | 16 | 3,564 | 4.49 |
| สกลนคร | 28 | 8,259 | 3.39 |
| นครพนม | 15 | 4,641 | 3.23 |
|
รวม |
125 |
33,192 |
3.77 |
|
หมายเหตุ:
ทารกแรกเกิดไร้ชีพ หมายถึง ทารกที่คลอด และมีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์หรือน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 1,000 กรัม และไม่มีสัญญานชีพ ในช่วงเวลาที่กำหนด กล่าวคือทารกเมื่อคลอดแล้วไม่มีอาการแสดงของการมีชีวิต ได้แก่ ไม่มีการหายใจเอง ไม่มีการเต้นของหัวใจ และไม่มีการเคลื่อนไหว อาจรวมถึงทารกที่คลอดออกมาถึงตายทันทีด้วย
รายการข้อมูล 1 ตัวตั้ง คือ A = จำนวนการทารกที่คลอดและมีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์หรือน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 1,000 กรัม และไม่มีสัญญานชีพ ในช่วงเวลาที่กำหนด
รายการข้อมูล 2 ตัวหาร คือ B = จำนวนทารกเกิดทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน (ทั้งเกิดมีชีพและเกิดไร้ชีพรวมกัน)
สูตรคำนวณตัวชี้วัด = (A/B)*1000
ที่มา:
รายงาน Service Plan สาขาทารกแรกเกิด กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ประมวลผล: 18 พฤษภาคม 2565