ตารางข้อมูลรายพื้นที่
|
จังหวัด |
เทอม 2 |
เทอม 1 |
ร้อยละของทั้งหมด |
ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง (B1) |
เริ่มอ้วนและอ้วน (A3) |
% |
ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง (B1) |
เริ่มอ้วนและอ้วน (A3) |
% |
ที่มา: DoH Dashboard กรมอนามัย (ข้อมูลจาก HDC กระทรวงสาธารณสุข) |
| บึงกาฬ | 800 | 88 | 11.00 | 15 | 0 | 0.00 | 10.80 |
| อุดรธานี | 280 | 37 | 13.21 | 2,101 | 275 | 13.09 | 13.10 |
| สกลนคร | 510 | 34 | 6.67 | 144 | 0 | 0.00 | 5.20 |
| นครพนม | 2,594 | 275 | 10.60 | 3,103 | 272 | 8.77 | 9.60 |
| รวมทั้งหมด | 4,184 | 434 | 10.37 | 5,363 | 547 | 10.20 | 10.28 |
หมายเหตุ:
- B1 หมายถึง จำนวนเด็กวัยเรียน 6-14 ปีที่ชั่งนำหนักวัดส่วนสูง
- A3 หมายถึง จำนวนเด็กวัยเรียน เริ่มอ้วนและอ้วน
ประเมินจากแฟ้ม NUTRITION
- เด็กอายุ 6-14 ปี
- 1 คน หากมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเกิน 1 ครั้งต่อเทอม จะยึดค่าน้ำหนักและส่วนสูงครั้งสุดท้ายของเทอม
- 1 คน หากมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ทั้ง 2 เทอมจะนับให้เทอมละ 1 ครั้ง
สรุปตัดความซ้ำซ้อนด้วย HOSPCODE,PID,เทอม
ค่าน้ำหนักต้องอยู่ในช่วง 0.1 ถึง 300 กก.
ค่าส่วนสูงต้องอยู่ในช่วง 40 ถึง 250 ซม.
สัญชาติ ไทย
นับตามวันที่ให้บริการ(DATE_SERV) ที่อยู่ในช่วง เดือน พค ถึง กค.(เทอม 1) , เดือน ตค. ถึง ม ค.(เทอม 2) เท่านั้น
วันที่ประมวลผล: 15 กรกฎาคม 2560